fbpx
Кожен долар збігся до $50 000 до 31 грудня! Дайте сьогодні.
Наш механізм SpeakUp®
Логотип Nonviolent Peaceforce із блакитною крапкоюПожертвуйте

'ประชาสังคมที่เข้มแข็งมีส่วนสำคัญในการสร้ างสันติภาพ' บทเรียนจากพม่าและมินดาเนา

Дата: 23 січня 2015

Натисніть Джерело кліпу: ประชาไท (Прачатай)
Написано: อิมรอน ซาเหาะ
        Дата: 23 січня 2015 року
Мова оригіналу: тайська - Читайте оригінальну статтю: тут

Громадянське суспільство. в Бірмі та Мінданао

เวทีเรียนรู้กระบวนสันติภาพ ทั้งชายแดนใต้/ ปาตานี พม่าและมินดาเนา เผยมุมมองต่อสันติภาพ มีทั้งด้านบวก-ด้านลบ ดร.โนเบิร์ตชี้ปัจจัยสู ่ความสำเร็จและความสำคัญของฝ่ายที่สาม ด้าน ผอ. Non-Violence PeaceForce ศาสนาแก้ความขัดแย้งในพม่า ฝ่ายที่สามและบทบ าทพลเรือนในการตรวจสอบหยุดยิงในมินดาเนา พร้ อมย้ำภาคประชาสังคมต้องเข้มแข็งเพื่อให้สอง ฝ่ายยอมรับ ชี้มีส่วนลดการละเมิดข้อ ตกลงหยุดยิง

สโมสรโรตารีเซนต์พอล ภาค 5960 користувачів สโมสรโรตารีควนลัง-หาดใหญ่ ภาค 3330 จัดประชุมเช ิงปฏิบัติการ “เรื่องการสันติภาพและมิตรไมตรี ที่ยั่งยืนในประเทศไทย” (Мирний процес: розбудова стійкого миру та доброї волі в Таїланді) ครั้งที่ 1 เ มื่อวันเสาร์ ที่ 10 มกราคม 2558 ที่ผ่านมา ณ คณะวิทยาการสื่อสา ร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) วิทยาเขตปัตต านี โดยมีสมาชิกสโมสรโรตารี ผู้นำศาสนา นักวิ ชาการและภาคประชาสังคมเข้าร่วม

การประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าว มีทั้งหมด 3 ครั้ง โดยครั้งที่ 2 วันที่ 11 มกราคม 2558 ณ คณะเศร ษฐศาสตร์ ม.อ.วิทยาเขตหาดใหญ่ และครั้งที่ 3 วั 13 лютого 2558 року พมหานคร โดยร่วมกับ Ненасильницькі сили миру (NP ) Ресурсний центр миру (PRC) และคณะวิทยาการสื่อสาร สถานวิจัยความขั ดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD) แล ะสถาบันสันติศึกษา ม.อ.

มุมมองต่อสันติภาพด้านบวก-ด้านลบ

การประชุมเริ่มด้วยกิจกรรมแสดงจุดยืนต่อกร ะบวนการสร้างสันติภาพ โดยให้ผู้เข้าร่วมเลือ กยืนบนเส้นตรงกลางห้องประชุมที่สมมติว่า ด้ านหนึ่งของกำแพงห้องคือด้านบวก และด้านตรงข้ ามคือด้านลบ พบผู้เข้าส่วนใหญ่เลือกยืนตั้งแ ต่ ตรงจุดบวกสุดกำแพง ไปจนถึงลบกลางๆ แต่ไม่มี ใครเลือกยืนตรงจุดลบสุดกำแพง

จากนั้นได้สุ่มเลือกถามบางคนว่า ทำไมถึงเลื อกยืนตรงจุดนั้น โดยผู้เข้าร่วมบางคนที่เลื อกยืนด้านลบให้เหตุผลว่า คนที่แสดงตัวในการส นับสนุนกระบวนการสันติภาพยังมีอยู่น้อย เพรา ะยังเจอแต่คนหน้าเดิม ๆ ที่มาร่วมประชุมลักษณะนี้

ส่วนผู้เข้าร่วมที่เลือกยืนตรงกลาง แสดงควา มเห็นว่า หากจะเปรียบเทียบกระบวนการสร้างสั นติภาพเหมือนกับการเมืองไทย จะเห็นได้ว่าการ เมืองไทยมีความพยายามใช้วิธีการต่างๆ เพื่อใ ห้เกิดการปรองดอง แต่ก็ยังไม่สำเร็จเพราะมี เงื่อนไขอื่นๆ อีกมาก

ในขณะที่ผู้เข้าร่วมที่เลือกยืนด้านบวก กล่ าวว่า เราเชื่อมั่นว่ากระบวนการสร้างสันติภ าพจะเกิดขึ้นได้จริง หากพวกเราทุกคนศรัทธา

ปัจจัยสู่ความสำเร็จ-ความสำคัญของฝ่ายที่สา ม

หลังจากนั้นมีการบรรยายหัวข้อ “การเริ่มต้นใ หม่ของกระบวนการสร้างสันติภาพ” โดยนางสาวรุ่ งรวี เฉลิมศรีภิญโญรัช นักวิจัยอิสระและ ดร.โน เบิร์ต โรเปอร์ส นักวิจัยอาวุโส สถานวิจัยควา มขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาค ใต้ (CSCD) โดยนางสาวรุ่งรวีได้อธิบายปรากฏการณ์ Перегляд ีพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการสร้าง สันติภาพอย่างใกล้เคียงกัน

นางสาวรุ่งรวีตั้งข้อสังเกตบางประการต่อกร ะบวนการสร้างสันติภาพ เช่น การริเริ่มการพูด คุยสันติภาพอย่างเป็นทางการ นับว่าเป็นความก ้าวหน้าทางนโยบายที่สำคัญอย่างยิ่ง และการที BRN BRN รอบของรัฐธรรมนูญไทย แสดงให้เห็นถึงความต้องการที่จะประนีประนอ มและแสวงหาทางออกร่วมกับรัฐไทย

“ที่สำคัญเมื่อดูสถิติเหตุการณ์ในช่วงต้นเด ือนรอมฎอนที่ผ่านมาทำให้เห็นว่า BRN สามารถควบค ุมกองกำลังได้อย่างมีนัยสำคัญ เป็นต้น”

ในขณะที่ ดร.โนเบิร์ต โรเปอร์ส กล่าวถึงบทเรี ยนพื้นฐานจากการสร้างสันติภาพว่า ไม่มีความ ขัดแย้งใดที่ไม่มีทางออก แต่คำถามคือจะต้องม ีเหยื่ออีกสักกี่ราย และทุกฝ่ายมักจะเชื่อว่ าตัวเองถูก ดังนั้น ฝ่ายที่สามจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในกระบว นการสันติภาพ ที่สำคัญยิ่งคือความขัดแย้งยืด เยื้อนานเพียงใด ก็จะทำให้ความขัดแย้งกลายเ ป็นเรื่องระบบที่ถาวรยิ่งขึ้น และความขัดแย้ งที่รุนแรงเปนอุปสรรคใหญ่ต่อการพัฒนา

ดร.โนเบิร์ต ยังกล่าวอีกว่า ความสำเร็จของกร ะบวนการสันติภาพจะต้องอาศัยผู้นำที่มีวิสัย ทัศน์และความกล้าหาญ และต้องมีการล็อบบี้ที่ เข้มแข็งอย่างไม่ลดละ และสันติภาพจะเกิดขึ้ นไม่ได้หากทั้งสองฝ่ายไม่ยอม ประนีประนอม

“สุดท้าย ในการสร้างสันติภาพจะต้องทำทั้งใน “ เชิงลบ" (негативний спокій) คือ การลดความรุนแรงและใน "เชิงบวก" (позитивний спокій) คือ การจัดการกับปัญหารากเหง้าและปัญหาเชิง โครงสร้างที่ทำให้เกิดความขัดแย้งรุนแรง ขึ้น"

ตัวอย่างบทบาทภาคประชาสังคม-ผู้นำศาสนาในพม ่า

หลังจากนั้น มีการบรรยายหัวข้อ “กระบวนการสั นติภาพในพม่า” (Мирний процес в М’янмі) าร Non-Violence Peaceforce ประจำประเทศพม่า โดย Mansoori กล่าวว่า กลุ่มติ ดอาวุธในพม่ามีมากกว่า 30 กลุ่ม ใน ค.ศ . 1995 рік. นต่อมาอีกกว่า 15 ปี จน ค.ศ. 2010 рік. ัฐบาลจะคืนอำนาจให้กับพลเรือน

เขากล่าวต่อไปว่า ภาคประชาสังคมจำเป็นจะต้อ งเข้ามามีบทบาทและคอยตรวจสอบเพราะทั้งสองฝ่ ายต่างไม่มีความไว้ใจกันเลย โดยเขาได้ยกตัว อย่างกรณีรัฐคะฉิ่นซึ่งนักธุรกิจเข้ามามีส่ วนร่วมในการเป็น คนกลางเพื่อช่วยสร้างสันติภาพ และด้วยความพ ยายามของนักธุรกิจเหล่านั้น ทำให้รัฐคะฉิ่น เริ่มหันมาสนใจกระบวนการสร้างสันติภาพมากขึ ้น

อีกตัวอย่างที่เขา ยกตัวอย่างถึงกรณีที่ผู้ นำศาสนาเข้ามาช่วยในการเป็นคนกลางในการทำหน ้าที่ติดตามและตรวจสอบการหยุดยิงระหว่างชนก ลุ่มน้อยชาวคริสต์กับรัฐบาลพม่า

ฝ่ายพลเรือนกับการตรวจสอบหยุดยิงในมินดาเน า

หัวข้อสุดท้ายของการบรรยายคือเรื่อง “บทเรีย นกระบวนการสันติภาพมินดาเนา” (Вчимося з мирного процесу Мінданао) โดย อาติฟ ฮ ามีด ผู้อำนวยการ Non-Violence Peaceforce ประจำประเทศฟิลิปปินส์ โดยเขากล่าวถึงกองกำลังติดอาวุธกลุ่มใหญ่ๆ ห ลายกลุ่ม ในประเทศฟิลิปินส์ เช่น Moro Islamic Liberation Front (MILF), Moro Nationa Liberation Front (MNLF), Bangsamoro Islamic Freedom, Abu Sayyaf

เขากล่าวว่า การดำเนินการเรื่องกระบวนการสร ้างสันติภาพกับกลุ่มติดอาวุธต่างๆ เหล่านั้ นมีความซับซ้อน

мамочка กับรัฐบาลนั้น ใน ค.ศ.2000 มีการเปิดศึกกันครั้งใ หญ่ จนทั้งสองฝ่ายเห็นว่าน่าจะต้องมีฝ่ายที่ สามเข้ามาช่วย ซึ่งรัฐบาลได้เชิญประเทศมาเลเ ซียเข้า มาทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยความสะดวกและทำหน้ าที่ในการติดตามการละเมิดข้อตกลงการหยุดยิง

เขากล่าวต่ออีกว่า ตั้งแต่ ค.ศ. 2009 рік. Перегляд ยใต้กลไกที่เรียกว่า Міжнародна контактна група โดยพวกเขาได้เข้าไปสร้ างกลไกเพื่อทำงานร่วมกับรัฐบาลและกลุ่มติดอ าวุธ (Track1) ตลอด จนมีผู้แทนเข้าไปตรวจสอบการหยุดยิงและผลกร ะทบที่เกิดขึ้นต่อประชาชน

ภาคประชาสังคมต้องเข้มแข็งเพื่อให้สองฝ่าย ยอมรับ

อาติฟอธิบายว่า ในช่วงแรกๆ ทั้งสองฝ่ายไม่ย อมรับบทบาทของภาคประชาสังคม แต่ภาคประชาสังค มก็ใช้เวลาหลายปีในการพยายามเสริมสร้างศักย ภาพของตัวเอง จนเมื่อมีทักษะที่ดีขึ้นก็สามา รถเข้าไปมีบทบาทใน การตรวจสอบความรุนแรงที่กระทำโดยทั้งสองฝ่ ายได้

อาติฟอธิบายต่อไปว่า ปัจจุบันภาคประชาสังคม มีกลไกที่เข้มแข็งมาก ซึ่งพวกเขาก็ใช้เวลาน านนับสิบปีในการสร้างเครือข่าย เมื่อมีเครือ ข่ายแล้วจะรู้สึกว่ามีอำนาจมากขึ้น และมีการ ขยายการสร้างเครือ ข่ายออกไปเรื่อยๆ นอกจากนั้นแล้วภาคประชาสั งคมยังทำงานแบบเข้าถึงจริงๆ เช่น จะเข้าไปนั ่งตรงจุดตรวจหรือด่านพร้อมกับเจ้าหน้าที่ ซึ ่งมีส่วนอย่างสำคัญในการช่วยลดการละเมิดข้อ ตกลงในการหยุดยิง

Ви можете захистити цивільних осіб, які живуть або тікають від насильницького конфлікту. Ваш внесок змінить реакцію світу на конфлікт.
стрілка вправо
Українська